ชื่อรายงาน : Benchmarking เปรียบเทียบผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ตามมาตรฐานต่างๆ รหัสรายงาน : B00
  ครั้งที่ปรับปรุง : 1
  ** ประมวลผลข้อมูลจากฐานข้อมูลต่างๆ เปรียบเทียบหน่วยงานตามตัวชี้วัด ** วันที่เริ่มใช้ : 05-06-2550
องค์ประกอบ
ตัวบ่งชี้
สกอ. ปี 2550
สมศ.
กพร.
Ranking มหาวิทยาลัยไทย
1. ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนการดำเนินการ  1.1 มีการกำหนดปรัชญาหรือปณิธาน ตลอดจนมีกระบวนการ พัฒนากลยุทธ์ แผนดำเนินงานและมีการกำหนดตัวบ่งชี้ที่วัดความสำเร็จของการดำเนินงานตามแผนให้ครบทุกพันธกิจ      
  1.2 ร้อยละของการบรรลุเป้าหมายตามตัวบ่งชี้ของการปฏิบัติงานที่กำหนด

  ๓.๑ ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ ของสถาบันอุดมศึกษา     ในส่วนของงบประมาณแผ่นดิน  
      ๓.๒ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ ของสถาบันอุดมศึกษา     ในส่วนของงบประมาณรายได้  
    5.3 มีการกำหนดแผนกลยุทธ์ที่เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ 
   
2. การเรียนการสอน  2.1 มีระบบและกลไกในการพัฒนาและบริหารหลักสูตร
     
  2.2 มีกระบวนการที่เน้นการเรียนรู้เป็นสำคัญ
6.6 มีกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยเฉพาะการเรียนรู้จากการปฏิบัติและประสบการณ์จริง ๒๓.ประสิทธิภาพของการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ  
  2.3 มีโครงการหรือกิจกรรมที่สนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน ซึ่งบุคคคล องค์กร และชุมชนภายนอกมีส่วนร่วม
     
  2.4 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ
6.2 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ (ไม่้นับศึกษาต่อ)    
  2.5 สัดส่วนของอาจารย์ประจำที่มีวุฒิปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก หรือเทียบเท่าต่ออาจารย์ประจำ
6.3 ร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่าต่ออาจารย์ประจำ  (
๑๖.ร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่าต่ออาจารย์ประจำ ร้อยละอาจารย์วุฒิ ป.เอก ต่ออาจารย์ทั้งหมด*
        จำนวนอาจารย์ต่างชาติ ต่อจำนวนอาจารย์ทั้งหมด *
        จำนวนศาสตราจารย์ต่อจำนวนอาจารย์ทั้งหมด *
  2.6 สัดส่วนของอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งอาจารย์ ผศ. รศ. และ ศ.
6.4 ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 
  ร้อยละอาจารย์ที่มีตำแหน่งทางวิชาการ ต่ออาจารย์ทั้งหมด*
  2.7 มีกระบวนการส่งเสริมการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพของคณาจารย์
6.5 มีการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารย์ (Professional Ethics) ๘.ระดับความสำเร็จของการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารย์ของสถาบันอุดมศึกษา  
    6.1 ร้อยละของหลักสูตรที่ได้มาตรฐานต่อหลักสูตรทั้งหมด ๒๒.ร้อยละของหลักสูตรที่ได้มาตรฐานต่อหลักสูตรทั้งหมด จำนวนอาจารย์ทั้งหมด ต่อจำนวนหลักสูตรทั้งหมด *
    6.7 ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอนของอาจารย์และสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้    
  2.8 มีระบบและกลไกสนับสนุนให้อาจารย์ประจำทำการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
     
  2.9 ร้อยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำและการประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี
1.1 ร้อยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำและประกอบอาชีพอิสระ ภายใน 1 ปี ๔.๑.๑  ร้อยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายในระยะเวลา ๑ ปี  
    1.2 ร้อยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้ทำงานตรงสาขาที่สำเร็จการศึกษา ๔.๑.๒  ร้อยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำตรงสาขาที่สำเร็จการศึกษา  
  2.10 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีได้รับเงินเดือนเริ่มต้นเป็นไปตามเกณฑ์
1.3 ร้อยละของบัณฑิตที่ได้รับเงินเดือนเริ่มต้นเป็นไปตามเกณฑ์    
  2.11 ระดับความพึงพอใจของนาย จ้าง ผู้ประกอบการ และผู้ใช้บัณฑิต
1.4 ระดับความพึงพอใจของนายจ้าง ผู้ประกอบการ และผู้ใช้บัณฑิต ๔.๑.๓   ระดับความพึงพอใจต่อบัณฑิตของผู้ใช้บัณฑิต  
  2.12 ร้อยละของนักศึกษาหรือศิษย์เก่าที่สำเร็จการศึกษาในรอบปีที่ผ่านมา ที่ได้รับประกาศเกียรติคุณยกย่องในด้านวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม กีฬา สุขภาพ และด้านสิ่งแวดล้อมในระดับชาติหรือนานาชาติ
1.5 จำนวนนักศึกษาหรือศิษย์เก่าที่ได้รับการประกาศเกียรติคุณยกย่องในด้านวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม หรือรางวัลทางวิชาการหรือด้านอื่นที่เกี่ยวข้องกับ คุณภาพบัณฑิตในระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ ในรอบ 3 ปีที่ผ่านมา
๔.๑.๔*  จำนวนนักศึกษา หรือศิษย์เก่าที่ได้รับการประกาศเกียรติคุณยกย่อง ในด้านวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม หรือรางวัลทางวิชาการ  หรือด้านอื่นที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพบัณฑิตในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ  
    1.6 จำนวนวิทยานิพนธ์และงานวิชาการของนักศึกษาที่ได้รับรางวัลในระดับชาติหรือระดับนานาชาติภายในรอบ 3 ปีที่ผ่านมา    
    1.7 ร้อยละของบทความจากวิทยานิพนธ์ปริญญาโทที่ตีพิมพ์ เผยแพร่ต่อจำนวน  วิทยานิพนธ์ปริญญาโททั้งหมด
๔.๑.๕*  ร้อยละของบทความวิทยานิพนธ์ปริญญาโทหรือเอก ที่ตีพิมพ์เผยแพร่ทั้งในระดับชาติหรือระดับนานาชาติต่อจำนวนวิทยานิพนธ์ปริญญาโทหรือเอก  
    1.8 จำนวนบทความจากวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกที่ตีพิมพ์เผยแพร่ต่อจำนวนวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกทั้งหมด
   
  2.13 ร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีคุณสมบัติเป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ที่ทำหน้าที่อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ (เฉพาะสถาบันที่เน้นการผลิตบัณฑิตและวิจัย)
     
3. กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา 3.1 มีการจัดบริการแก่นักศึกษาและศิษย์เก่า
     
  3.2 มีการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษาที่ครบถ้วนและสอดคล้องกับคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์
     
    6.8 ร้อยละของนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรม/ โครงการพัฒนานักศึกษาต่อจำนวนนักศึกษา (จำนวนจริงในแต่ละโครงการ)    
4. การวิจัย   4.1 มีการพัฒนาระบบและกลไกในการสนับสนุนการผลิตงานวิจัยและงานสร้างสรรค์
     
  4.2 มีระบบการบริหารจัดการความรู้งานวิจัยและงานสร้างสรรค์
     
  4.3 จำนวนเเงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำ
2.2 จำนวนเเงินสนับสนุนงานวิจัย และงานสร้างสรรค์ของสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำ (ไม่นับลาศึกษาต่อ รวมนักวิจัย)
๔.๒.๒  จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันต่ออาจารย์ประจำ เงินสนับสนุนงานวิจัยต่อจำนวนอาจารย์ประจำ
    2.3 จำนวนเเงินสนับสนุนงานวิจัย และงานสร้างสรรค์จากภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำ (ไม่นับลาศึกษาต่อ รวมนักวิจัย)   เงินสนับสนุนงานวิจัย (ภายนอกสถาบัน) ต่อจำนวนอาจารย์ประจำ
    2.4 ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ได้รับทุนทำวิจัย หรืองานสร้างสรรค์จากภายในสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำ
(ไม่นับลาศึกษาต่อ รวมนักวิจัย)
๔.๒.๓  ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ได้รับทุนทำวิจัย และงานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันต่ออาจารย์ประจำ เงินสนับสนุนงานวิจัย (ภายในสถาบัน) ต่อจำนวนอาจารย์ประจำ
    2.5 ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ได้รับทุนทำวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายนอกสถาบันต่อ จำนวนอาจารย์ประจำ
(ไม่นับลาศึกษาต่อ รวมนักวิจัย)
   
  4.4 ร้อยละของงานวิจัยและสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์เผยแพร่ ได้รับการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาหรืออนุสิทธิบัตร หรือนำไปใช้ประโยชน์ทั้งในระดับชาติและในระดับนานาชาติต่อจำนวนอาจารย์ประจำ
2.1 ร้อยละของงานวิจัย และงานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์ เผยแพร่ และ/หรือนำไปใช้ประโยชน์ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ ต่อจำนวนอาจารย์ประจำ 
(ไม่นับลาศึกษาต่อ รวมนักวิจัย)
๔.๒.๑  ร้อยละของงานวิจัย และงานสร้างสรรค์    ที่ตีพิมพ์ เผยแพร่ หรือนำไปใช้ประโยชน์ในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ ต่ออาจารย์ประจำ ร้อยละของงานวิจัย และงานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์ เผยแพร่ และ/หรือนำไปใช้ประโยชน์ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ ต่อจำนวนอาจารย์ประจำ
    2.7 จำนวนผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่ได้รับการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาหรืออนุสิทธิบัตรในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา (นับทั้งหมด รวมนักวิจัย) ๔.๒.๕*  จำนวนผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการจดทะเบียนสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร  
  4.5 ร้อยละของบทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิง (Citation) ใน refereed journal หรือในฐานข้อมูลระดับชาติหรือระดับนานาชาติต่ออาจารย์ประจำ
2.6 ร้อยละของบทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิง (Citation) ใน referred  journal หรือในฐานข้อมูลระดับชาติหรือระดับนานาชาติ ต่ออาจารย์ประจำ (นับทั้งหมด รวมนักวิจัย) ๔.๒.๔*  ร้อยละของบทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิง (Citation) ใน refereed  journal หรือในฐานข้อมูลระดับชาติหรือระดับนานาชาติ        ต่ออาจารย์ประจำ ร้อยละของจำนวนบทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิง (citation) ใน refereed journal หรือในฐานข้อมูลระดับชาติหรือระดับนานาชาติ (เช่น ISI , ERIC) ต่อจำนวนอาจารย์ประจำ
5. การบริการวิชาการแก่สังคม  5.1 มีระบบและกลไกในการบริการวิชาการแก่สังคมตามเป้าหมายของสถาบัน
     
  5.2 ร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีส่วนร่วมในการให้บริการวิชาการแก่สังคม เป็นที่ปรึกษา เป็นกรรมการวิทยานิพนธ์ภายนอกสถาบัน เป็นกรรมการวิชาการ กรรมการวิชาชีพในระดับชาติหรือระดับนานาชาติต่อจำนวนอาจารย์ประจำ
3.2 ร้อยละของอาจารย์ที่เป็นที่ปรึกษา/กรรมการวิทยานิพนธ์ภายนอกสถาบัน/กรรมการ วิชาการและกรรมการวิชาชีพในระดับชาติหรือระดับนานาชาติต่ออาจารย์ประจำ
(นับทั้งหมด) (ปีการศึกษา)
๔.๓.๓  ร้อยละของอาจารย์ที่เป็นที่ปรึกษา      เป็นกรรมการวิทยานิพนธ์ภายนอกสถาบัน     เป็นกรรมการวิชาการและกรรมการวิชาชีพในระดับชาติหรือระดับนานาชาติต่ออาจารย์ประจำ  
  5.3 ร้อยละของกิจกรรมหรือโครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองความต้องการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติและนานาชาติต่ออาจารย์ประจำ
3.1 ร้อยละของกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองความต้องการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ และนานาชาติต่ออาจารย์ประจำ (ไม่นับลาศึกษาต่อ) (ปีการศึกษา) ๔.๓.๑  ร้อยละของกิจกรรมหรือโครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองความต้องการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ หรือนานาชาติต่ออาจารย์ประจำ  
  5.4 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ
  ๖.ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ  
  5.5 จำนวนแหล่งให้บริการวิชาการและวิชาชีพที่ได้รับการยอมรับในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ (จำนวนศูนย์เครือข่าย)
3.5  จำนวนแหล่งให้บริการวิชาการและวิชาชีพที่ได้รับการยอมรับในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ (ปีการศึกษา) ๔.๓.๔*  จำนวนแหล่งให้บริการวิชาการและวิชาชีพที่ได้รับการยอมรับในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ  
    3.3 มีการนำความรู้และประสบการณ์จากการบริการวิชาการและวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการเรียน การสอน และการวิจัย (ปีการศึกษา)    
    3.4 ค่าใช้จ่าย และมูลค่าของสถาบันในการบริการวิชาการและวิชาชีพเพื่อสังคมต่อ    อาจารย์ประจำ (ปีการศึกษา)    
    3.6 รายรับของสถาบันในการให้บริการวิชาการและวิชาชีพในนามสถาบันต่ออาจารย์ประจำ (ปีการศึกษา)    
      ๔.๓.๒  จำนวนชั่วโมงเฉลี่ยที่อาจารย์ประจำให้บริการวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองความต้องการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ หรือนานาชาติต่ออาจารย์ประจำ  
      ๔.๓.๕*  ระดับความสำเร็จและประสิทธิผลของการให้บริการวิชาการและวิชาชีพตามพันธกิจของสถาบัน  
6. การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม 6.1 มีระบบและกลไกในการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
     
  6.2 มีผลงานหรือชิ้นงานในการพัฒนาองค์ความรู้และสร้างมาตรฐานศิลปวัฒนธรรม
     
  6.3 ประสิทธิผลในการอนุรักษ์ พัฒนาและสร้างเสริมเอกลักษณ์ ศิลปวัฒนธรรม
     
    4.1 ร้อยละของโครงการ/ กิจกรรมในการอนุรักษ์ พัฒนา และสร้างเสริมเอกลักษณ์ และวัฒนธรรมต่อจำนวนนักศึกษา (นับเฉพาะภาคปกติ เฉพาะปริญญาตรี ปีการศึกษา) ๔.๔.๑  ร้อยละของโครงการหรือ กิจกรรมในการอนุรักษ์ พัฒนา และสร้างเสริมเอกลักษณ์ ศิลปะ และวัฒนธรรมต่อจำนวนโครงการหรือกิจกรรมนักศึกษาทั้งหมด  
    4.2 ร้อยละของค่าใช้จ่ายและมูลค่าที่ใช้ในการอนุรักษ์ พัฒนาและสร้างเสริม เอกลักษณ์ศิลปะและวัฒนธรรมต่องบดำเนินการ (ปีการศึกษา) ๔.๔.๓  ร้อยละของค่าใช้จ่ายและมูลค่าที่ใช้ในการอนุรักษ์ พัฒนาและสร้างเสริมเอกลักษณ์ ศิลปะและวัฒนธรรมต่องบดำเนินการ  
    4.3  มีผลงาน  หรือชิ้นงานการพัฒนาองค์ความรู้  และสร้างมาตรฐานศิลปะและวัฒนธรรม ๔.๔.๔*  จำนวนผลงาน หรือชิ้นงานการพัฒนาองค์ความรู้ และสร้างมาตรฐานศิลปะและวัฒนธรรม  
    4.4  ประสิทธิผลในการอนุรักษ์  พัฒนา และสร้างเสริมเอกลักษณ์  ศิลปะและวัฒนธรรม ๔.๔.๕*  ระดับความสำเร็จและประสิทธิผลในการอนุรักษ์ พัฒนา และสร้างเสริมเอกลักษณ์  ศิลปะและวัฒนธรรม  
      ๔.๔.๒  ร้อยละเฉลี่ยของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการหรือ กิจกรรมในการอนุรักษ์ พัฒนา และสร้างเสริมเอกลักษณ์ ศิลปะ และวัฒนธรรมต่อจำนวนนักศึกษาทั้งหมด  
7. การบริหารและการจัดการ 7.1 สภาสถาบันใช้หลักธรรมภิบาลในการบริหารจัดการและสามารถผลักดันให้แข่งขันได้ในระดับสากล      
    5.1 สภาสถาบัน และผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ที่ขับเคลื่อนพันธกิจ และสามารถสะท้อนถึงนโยบาย วัตถุประสงค์ และนำไปสู่เป้าหมายของการบริหารจัดการที่ดี  มีการบริหารแบบมีส่วนร่วม  เน้นการกระจายอำนาจ โปร่งใสและตรวจสอบได้ รวมทั้งมีความสามารถในการผลักดันสถาบันให้สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล ๑๓.ระดับคุณภาพของการกำกับดูแลของสภามหาวิทยาลัยหรือสถาบัน  
  7.2 ภาวะผู้นำของผู้บริหารทุกระดับของสถาบัน
     
  7.3 มีการพัฒนาสถาบันสู่องค์กรการเรียนรู้
5.2 มีการพัฒนาสถาบันสู่องค์การเรียนรู้ โดยอาศัยผลการประเมินจากภายในและภายนอก ๒๐.ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์  
  7.4 มีระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อพัฒนา และธำรงรักษาไว้ให้บุคลากรมีคุณภาพและประสิทธิภาพ
  ๑๗.ระดับคุณภาพของการบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลสารสนเทศของสถาบันอุดมศึกษา  
  7.5 ศักยภาพของระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหาร การเรียนการสอน และการวิจัย
5.5 ศักยภาพของระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหาร การเรียนการสอน และการวิจัย  ๑๘.ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบฐานข้อมูลอุดมศึกษาด้านนักศึกษา บุคลากร และหลักสูตร  
  7.6 ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา
5.12 ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม  ๑๔.ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตามตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ  
  7.7 ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ได้รับรางวัลผลงานทางวิชาการหรือวิชาชีพในระดับชาติหรือนานาชาติ
5.9 ร้อยละของอาจารย์ประจำที่เข้าร่วมประชุมวิชาการหรือนำเสนอผลงานวิชาการทั้งในประเทศและต่างประเทศ (ไม่นับศึกษาต่อ)    
  7.8 มีการนำระบบบริหารความเสี่ยงมาใช้ในกระบวนการบริหารการศึกษา
     
  7.9 ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล      
   

5.11 ร้อยละของบุคลากรประจำสายสนับสนุนที่ได้รับการพัฒนาความรู้ และทักษะในวิชาชีพ ทั้งใน ประเทศและต่างประเทศ 

- ร้อยละของอาจารย์ที่ได้รับการพัฒนาเสนอผลงาน/ประชุมวิชาการ/อบรม/ประชุมทั้งในและต่างประเทศ(

- ร้อยละของบุคลากรสายสนับสนุนได้รับการพัฒนาความรู้ ในประเทศ

- ร้อยละของบุคลากรสายสนับสนุนได้รับการพัฒนาความรู้ ต่างประเทศ

- ร้อยละของอาจารย์ได้รับการพัฒนาความรู้ ในประเทศ

- ร้อยละของอาจารย์ได้รับการพัฒนาความรู้ ต่างประเทศ

๑๕. ระดับคุณภาพของการพัฒนาบุคลากรของสถาบันอุดมศึกษา  
      ๕. ระดับความสำเร็จในการพัฒนาสถาบันสู่ระดับสากล  
      ๒๑. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ  
8. การเงินและงบประมาณ 8.1 มีระบบและกลไกในการจัดสรร การวิเคราะห์ค่าใช้จ่าย การตรวจสอบการเงินปละงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ
     
  8.2 มีการใช้ทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบันร่วมกัน
5.4 การใช้ทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบันร่วมกัน    
    5.6 สินทรัพย์ถาวรต่อจำนวนนักศึกษา (เต็มเวลาเทียบเท่า)    
    5.7 ค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่อจำนวนนักศึกษา (เต็มเวลาเทียบเท่า)    
    5.8 ร้อยละของเงินเหลือจ่ายสุทธิต่องบดำเนินการ    
    5.10 งบประมาณสำหรับการพัฒนาคณาจารย์ทั้งในประเทศและต่างประเทศต่ออาจารย์ประจำ    
      ๙. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน  
      ๑๐. ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน ของสถาบันอุดมศึกษา  
      ๑๑.ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการลดรอบระยะเวลาของขั้นตอนการปฏิบัติราชการของสถาบันอุดมศึกษา  
      ๑๒.ระดับความสำเร็จของการจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต  
    6.9 ค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่ใช้ในระบบห้องสมุด คอมพิวเตอร์ และศูนย์สารสนเทศต่อนักศึกษา ๑๙.ค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่ใช้ในระบบห้องสมุด คอมพิวเตอร์ และศูนย์สารสนเทศต่อนักศึกษา  
9. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ 9.1 มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายในที่เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา
7.1 มีระบบและกลไกในการประกันคุณภาพภายในที่ก่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง    
  9.2 มีระบบและกลไกการให้ความรู้และทักษะด้านการประกันคุณภาพนักศึกษา
     
  9.3 ระดับความสำเร็จของการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
7.2 ประสิทธิผลของการประกันคุณภาพภายใน ๗.ระดับความสำเร็จของการประกันคุณภาพภายในที่ก่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง