ที่ |
ตัวชี้วัด |
1. |
ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวง |
|
2. |
ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา |
|
3. |
ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ |
|
3.1. |
ร้อยละของความสำเร็จตามเป้าหมายผลผลิตของส่วนราชการ |
|
3.2. |
จำนวนศูนย์เรียนรู้ทางการเกษตร |
|
3.3. |
จำนวนเทคโนโลยีสรสนเทศที่นำมาใช้ในการบริหารจัดการและการตัดสินใจ |
|
4. |
ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ย
ถ่วงน้ำหนักในการบรรลุมาตรฐานคุณภาพ สมศ. ของมหาวิทยาลัย แม่โจ้
|
|
4.1.1. |
ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือศึกษาต่อภายในระยะเวลา
3 -12 เดือน หลังสำเร็จการศึกษา |
|
4.1.2. |
ร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาเอกต่ออาจารย์ประจำ
|
|
4.1.3. |
ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ได้รับทุนไปศึกษาต่อทั้งในและต่างประเทศต่ออาจารย์ประจำ
|
|
4.1.4. |
ร้อยละของบทความวิทยานิพนธ์ปริญญาโท/เอก
ที่ตีพิมพ์เผยแพร่ทั้งในระดับชาติหรือระดับนานาชาติต่อจำนวนวิทยานิพนธ์ปริญญาโท/เอก
|
|
4.2.1. |
ร้อยละของงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์
เผยแพร่ ในระดับชาติหรือระดับนานาชาติต่ออาจารย์ประจำ
|
|
4.2.2. |
จำนวนเงินวิจัยจากภายในและภายนอกต่ออาจารย์ประจำ
|
|
4.2.3. |
ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ได้รับทุนทำวิจัยจากภายในและภายนอกต่ออาจารย์ประจำ
|
|
4.2.4. |
ร้อยละของอาจารย์ประจำที่นำเสนอผลงานทางวิชาการต่ออาจารย์ประจำ
|
|
4.2.5. |
จำนวนผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่ได้รับการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา
- งานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่ได้รับการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา
|
|
4.3.1. |
ร้อยละของกิจกรรมโครงการบริการทางวิชาการ
ที่ตอบสนองความต้องการของสังคม ชุมชน ประเทศชาติต่ออาจารย์ประจำ
|
|
4.3.2. |
ร้อยละของอาจารย์ประจำที่เป็น
ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ปรึกษา กรรมการ วิชาการ/ วิชาชีพ กรรมการสอบหรือกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ภายนอกสถาบันต่ออาจารย์ประจำ
|
|
4.3.3. |
ระดับความสำเร็จและประสิทธิผลของการให้บริการวิชาการและวิชาชีพตามพันธกิจของสถาบัน |
|
4.4.1. |
ร้อยละของกิจกรรมในการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมต่อจำนวนนักศึกษาภาคปกติเต็มเวลาเทียบเท่า
|
|
4.4.2. |
ระดับความสำเร็จและประสิทธิผลของการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม |
|
4.5.1. |
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการด้านระบบการประกันคุณภาพภายใน |
|
4.5.2. |
ระดับคุณภาพของการกำกับดูแลของสภามหาวิทยาลัย/สถาบัน |
|
4.5.3. |
จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า
ต่อจำนวนอาจารย์ประจำ |
|
5. |
ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ |
|
6. |
ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบราชการ |
|
7. |
ระดับความสำเร็จของการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารย์
(Professional Ethics) ของสถาบันอุดมศึกษา |
|
8. |
ระดับความสำเร็จของร้อยละ
เฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน |
|
9. |
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของสถาบันอุดมศึกษา |
|
10.
|
ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการลดรอบระยะเวลาของขั้นตอนการปฏิบัติราชการของสถาบันอุดมศึกษา |
|
12.
|
ระดับความสำเร็จของการจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต |
|
13.
|
ระดับความสำเร็จของแผนการจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ |
|
14.
|
ระดับคุณภาพของการบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลสารสนเทศของสถาบันอุดมศึกษา |
|
15.
|
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบฐานข้อมูลอุดมศึกษาด้านนักศึกษา
บุคลากรและหลักสูตร |
|
16.
|
ระดับความสำเร็จในการบริหารการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาบุคลากร |
|
19.
|
ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล |
|