ชื่อรายงาน : ฐานข้อมูล FIS อ้างตัวบ่งชี้ที่ใช้ในการประเมิน คุณภาพการศึกษา สมศ. รหัสรายงาน : K02
  ครั้งที่ปรับปรุง : -
  วันที่เริ่มใช้ : 01-04-2550
 
ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัด สมศ. ประเมินศักยภาพมหาวิทยาลัยไทย | ประกันคุณภาพการศึกษา | กพร.
 
มาตรฐาน 1 มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต
มาตรฐานย่อย รายละเอียดมาตรฐาน
1.1 ร้อยละของการได้งานของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำ และการประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี
1.2 ร้อยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานตรงสาขาที่สำเร็จการศึกษา
1.3 ร้อยละของบัณฑิตที่ได้รับเงินเดือนเริ่มต้นไปตามเกณฑ์
1.4 ระดับความพึงพอใจของนายจ้างผู้ประกอบการและผู้ใช้บัณฑิต
1.5 จำนวนนักศึกษา หรือศิษย์เก่าที่ได้รับการประกาศเกียรติคุณยกย่องในด้านวิชาการวิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรมหรือรางวัลทางวิชาการ หรือด้านอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพบัณฑิต ในระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในรอบ 3 ปี ที่ผ่านมา (คน)
36
  • จำนวนนักศึกษาและบัณฑิตที่ได้รับรางวัล และประกาศเกียรติคุณฯ ในรอบ 3 ปที่ผ่านมา
  • 37
  • ชื่อนักศึกษา และศิษย์เก่า ชื่อรางวัล/ประกาศเกียรติคุณ หน่วยงานที่ให้ และเดือนและปีที่ได้รับ ในรอบ 3 ปีที่ผ่านมา
  • 1.6 จำนวนวิทยานิพนธ์ และงานวิชาการของนักศึกษาที่ได้รับรางวัลในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ ภายในรอบ 3 ปีที่ผ่านมา (ชิ้นงาน)
    1
  • จำนวนวิทยานิพนธ์ และงานวิชาการของนักศึกษา
  • 2
  • จำนวนวิทยานิพนธ์ และงานวิชาการของนักศึกษาที่ได้รับรางวัล
  • 1.7 ร้อยละของบทความจากวิทยานิพนธ์ปริญญาโทที่ตีพิมพ์ เผยแพร่ต่อจำนวนวิทยานิพนธ์ปริญญาโททั้งหมด
    3
  • จำนวนวิทยานิพนธ์ปริญญาโททั้งหมด
  • 4
  • จำนวนวิทยานิพนธ์ปริญญาที่ตีพิมพ์เผยแพร่
  • 1.8 ร้อยละของบทความจากวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกที่ตีพิมพ์ เผยแพร่ต่อจำนวนวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกทั้งหมด
    5
  • จำนวนวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกทั้งหมด
  • 6
  • จำนวนวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกที่ตีพิมพ์ เผยแพร่

  • มาตรฐาน 2 มาตรฐานด้านงานวิจัยและงานสร้างสรรรค์
    มาตรฐานย่อย รายละเอียดมาตรฐาน
    2.1 ร้อยละของงานวิจัย และงานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์ เผยแพร่ และ/หรือนำไปใช้ประโยชน์ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ ต่อจำนวนอาจารย์ประจำ
    7
  • จำนวนงานวิจัยทั้งหมด
  • 8
  • จำนวนอาจารย์ประจำ
  • 9
  • จำนวนงานวิจัย และงานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์ เผยแพร่ และ/หรือนำไปใช้ประโยชน์ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ
  • 2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัย และงานสร้างสรรค์ของสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำ
    8
  • จำนวนอาจารย์ประจำ
  •  
  • จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัย และงานสร้างสรรค์ของสถาบัน
  • 10
  • จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัย และงานสร้างสรรค์ของสถาบัน (ภายใน)
  • 2.3 เงินสนับสนุนงานวิจัย และงานสร้างสรรค์จากภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำ
    8
  • จำนวนอาจารย์ประจำ
  • 11
  • จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัย และงานสร้างสรรค์จากภายนอกสถาบัน
  • 2.4 ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ได้รับทุนทำวิจัย หรืองานสร้างสรรค์จากภายในสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำ
    8
  • จำนวนอาจารย์ประจำ
  • 12
  • จำนวนอาจารย์ประจำที่ได้รับทุนทำวิจัย หรืองานสร้างสรรค์จากภายในสถาบัน
  • 2.5 ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ได้รับทุนทำวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายนอกสถาบัน ต่อจำนวนอาจารย์ประจำ
    8
  • จำนวนอาจารย์ประจำ
  • 13
  • จำนวนอาจารย์ประจำที่ได้รับทุนทำวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายนอกสถาบัน
  • 2.6 ร้อยละของจำนวนบทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิง (citation) ใน refereed journal หรือในฐานข้อมูลระดับชาติหรือระดับนานาชาติ (เช่น ISI , ERIC) ต่อจำนวนอาจารย์ประจำ
    8
  • จำนวนอาจารย์ประจำ
  • 14
  • จำนวนบทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิง (citation) ใน refereed journal หรือในฐานข้อมูลระดับชาติหรือระดับนานาชาติ (เช่น ISI , ERIC)
  • 2.7 จำนวนผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่ได้รับการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาหรืออนุสิทธิบัตรต่อจำนวนอาจารย์ประจำในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา
    8
  • จำนวนอาจารย์ประจำ
  • 15
  • จำนวนผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่ได้รับการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาหรืออนุสิทธิบัตร ในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา

  • มาตรฐาน 3 มาตรฐานด้านการบริการวิชาการ
    มาตรฐานย่อย รายละเอียดมาตรฐาน
    3.1 ร้อยละของกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองความต้องการ และพัฒนา/และเสริมสร้างความเข้มแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ และนานาชาติต่ออาจารย์ประจำ
    8
  • จำนวนอาจารย์ประจำ
  • 16
  • จำนวนกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองความต้องการ และพัฒนา/และเสริมสร้างความเข้มแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ และนานาชาติ
  • 3.2 ร้อยละของอาจารย์ที่เป็นที่ปรึกษา เป็นกรรมการวิทยานิพนธ์ภายนอกสถาบัน เป็นกรรมการวิชาการและกรรมการวิชาชีพในระดับชาติหรือต่ออาจารย์ประจำ
    8
  • จำนวนอาจารย์ประจำ
  • 17
  • จำนวนอาจารย์ที่เป็นที่ปรึกษา เป็นกรรมการวิทยานิพนธ์ภายนอกสถาบัน เป็นกรรมการวิชาการและกรรมการวิชาชีพในระดับชาติ
  • 3.3 มีการนำความรู้และประสบการณ์จากการบริการวิชาการมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอนและวิจัย
    3.4 ค่าใช้จ่าย และมูลค่าของสถาบันในการให้บริการวิชาการเพื่อสังคมต่ออาจารย์ประจำ
    8
  • จำนวนอาจารย์ประจำ
  • 18
  • จำนวนค่าใช้จ่าย และมูลค่าของสถาบันในการให้บริการวิชาการเพื่อสังคม

  • มาตรฐาน 4 มาตรฐานด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
    มาตรฐานย่อย รายละเอียดมาตรฐาน
    4.1 ร้อยละของจำนวนกิจกรรมในการอนุรักษ์ พัฒนา และสร้างเสริมเอกลักษณ์ ศิลปะและวัฒนธรรมต่อจำนวนนักศึกษา
    23
  • จำนวนนักศึกษา
  • 19
  • จำนวนกิจกรรมในการอนุรักษ์ พัฒนา และสร้างเสริมเอกลักษณ์ ศิลปะและวัฒนธรรม
  • 4.2 ค่าใช้จ่าย และมูลค่าที่ใช้ในการอนุรักษ์ พัฒนา และสร้างเสริม เอกลักษณ์ ศิลปะและวัฒนธรรมต่อจำนวนนักศึกษา
    23
  • จำนวนนักศึกษา
  • 20
  • จำนวนค่าใช้จ่าย และมูลค่าที่ใช้ในการอนุรักษ์ พัฒนา และสร้างเสริม เอกลักษณ์ ศิลปะและวัฒนธรรม

  • มาตรฐาน 5 มาตรฐานด้านการพัฒนาสถาบันและบุคลากร
    มาตรฐานย่อย รายละเอียดมาตรฐาน
    5.1 สภาสถาบัน และผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ที่ขับเคลื่อนพันธกิจและสามารถสะท้อนถึงนโยบาย วัตถุประสงค์และนำไปสู่เป้าหมายของการบริหารจัดการ การบริหารแบบมีส่วนร่วมเน้นการกระจายอำนาจ โปร่งใส และตรวจสอบได้
    5.2 มีการพัฒนาสถาบันสู่องค์การเรียนรู้ โดยอาศัยผลการ ประเมินจากภายในและภายนอก
    5.3 มีการกำหนดแผนกลยุทธ์ที่เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ
     
  • แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยแม่โจ้
  •  
  • ความสอดคล้องของแผนยุทธศาสตร์ กับยุทธศาสตร์ชาติ
  • 5.4 การใช้ทรัพยากรภายในและภายนอกร่วมกัน
    5.5 ศักยภาพของระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารและการจัดการ
     
  • มีการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ฐานข้อมูล
  • 5.6 สินทรัพย์ถาวรต่อจำนวนนักศึกษา (เต็มเวลาเทียบเท่า)
    23
  • จำนวนนักศึกษา (เต็มเวลาเทียบเท่า)
  • 21
  • จำนวนสินทรัพย์ถาวร
  • 5.7 ค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่อจำนวนนักศึกษา (เต็มเวลาเทียบเท่า)
    23
  • จำนวนนักศึกษา (เต็มเวลาเทียบเท่า)
  • 22
  • ค่าใช้จ่ายทั้งหมด
  • 5.8 ร้อยละของเงินเหลือจ่ายสุทธิต่อรายรับทั้งหมด
    24
  • รายรับทั้งหมด
  • 25
  • เงินเหลือจ่ายสุทธิ
  • 5.9 ร้อยละของอาจารย์ประจำที่เข้าร่วมประชุมวิชาการหรือนำเสนอผลงานวิชาการ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
    8
  • จำนวนอาจารย์ประจำ
  • 26
  • จำนวนอาจารย์ประจำที่เข้าร่วมประชุมวิชาการหรือนำเสนอผลงานวิชาการ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
  • 5.10 งบประมาณสำหรับการพัฒนาคณาจารย์ทั้งในประเทศและต่างประเทศต่ออาจารย์ประจำ
    8
  • จำนวนอาจารย์ประจำ
  • 27
  • จำนวนเงินงบประมาณสำหรับการพัฒนาคณาจารย์ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
  • 5.11 ร้อยละของบุคลากรประจำสายสนับสนุนที่ได้รับการพัฒนาความรู้ และทักษะในวิชาชีพ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
    28
  • จำนวนบุคลากรประจำสายสนับสนุน
  • 29
  • จำนวนบุคลากรประจำสายสนับสนุนที่ได้รับการพัฒนาความรู้ และทักษะในวิชาชีพ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ

  • มาตรฐาน 6 มาตรฐานด้านหลักสูตรและการเรียนการสอน
    มาตรฐานย่อย รายละเอียดมาตรฐาน
    6.1 ร้อยละของหลักสูตรที่ได้มาตรฐานต่อหลักสูตรทั้งหมด
    30
  • จำนวนหลักสูตรทั้งหมด
  • 31
  • จำนวนหลักสูตรที่ได้มาตรฐาน
  • 6.2 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ
    8
  • จำนวนอาจารย์ประจำ
  • 23
  • จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า
  • 6.3 ร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า
    8
  • จำนวนอาจารย์ประจำ
  • 32
  • จำนวนอาจารย์ประจำที่มีวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า
  • 6.4 ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
    8
  • จำนวนอาจารย์ประจำ
  • 33
  • จำนวนอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
  • 6.5 การปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารย์ (Professional Ethics)
    6.6 กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยเฉพาะการเรียนรู้จากการปฏิบัติและประสบการณ์จริง
     
  • คณาจารย์มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในการพัฒนาการเรียนรู้ (E-learning)
  •  
  • คณาจารย์มีระบบการประเมินผลการเรียนการสอน
  •  
  • คณาจารย์มีการวิจัยเพื่อพัฒนาสื่อและการเรียนรู้และนำผลไปใช้พัฒนาผู้เรียน
  • 6.7 ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอนของอาจารย์และสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
    6.8 ร้อยละของนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรม/โครงการพัฒนานักศึกษาเมื่อเทียบกับจำนวนนักศึกษา
    23
  • จำนวนนักศึกษา
  • 34
  • จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรม/โครงการพัฒนานักศึกษา
  • 6.9 ค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่ใช้ในระบบห้องสมุด คอมพิวเตอร์ และศูนย์สารสนเทศต่อนักศึกษา
    23
  • จำนวนนักศึกษา
  • 35
  • ค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่ใช้ในระบบห้องสมุด คอมพิวเตอร์ และศูนย์สารสนเทศ

  • มาตรฐาน 7 มาตรฐานด้านระบบการประกันคุณภาพ
    มาตรฐานย่อย รายละเอียดมาตรฐาน
    7.1 มีระบบและกลไกในการประกันคุณภาพภายในที่ก่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
  • คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ ประกันคุณภาพภายใน
  • กิจกรรมประกันคุณภาพ
  • 7.2 ประสิทธิผลของการประกันคุณภาพภายใน