รายงานประจำปี 2550  คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
ชื่อหน่วยงานคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
URL http://techno.rru.ac.th
Tel : 0-3856-8191
Fax 0-3856-8191
คณะผู้บริหาร
1. เมธี พรมศิลาคณบดีคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
2. ยุทธณรงค์ จงจันทร์ผู้ช่วยคณบดี
3. ดร. ปริวรรต นาสวาสดิ์ผู้ช่วยคณบดี
4. ดร. ราชู พันธ์ฉลาดผู้ช่วยคณบดี
5. จันทนา ประยูรพงษ์หัวหน้าสำนักงานคณบดี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
6. กิ่งกาญจน์ กิตติสุนทโรภาศรองคณบดีวิชาการและประกันคุณภาพการศึกษา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
7. ดร. สราวุธ อิศรานุวัฒน์รองคณบดีวางแผนและพัฒาท้องถิ่น
8. ดร. ศรินยา ประทีบชนะชัยรองคณบดีวิจัยและพัฒนานักศึกษา
จำนวนบุคลากร 43 คน [ แยกเป็นสายอาจารย์จำนวน 38 คน และ สายสนับสนุนจำนวน 5 คน ]
ข้อมูลผลการดำเินินงาน พ.ศ. 2549 | พ.ศ. 2550 | พ.ศ. 2551
รายงานประกันคุณภาพภายใน พ.ศ. 2550 |
ข้อมูลทั่วไปของคณะ
ปรัชญา 1. ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้คู่คุณธรรม จิตอาสา ใฝ่รู้ สู้งาน 2. ศึกษา วิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้และท้องถิ่น 3. ให้บริการทางวิชาการ ถ่ายทอดเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและวิศวกรรม 4. ส่งเสริมสนับสนุนการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 5. สร้างเครือข่ายด้านวิชาการและศิลปวัฒนธรรมกับกลุ่มประชาคมอาเซียน
วิสัยทัศน์ จัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพ ตอบสนองความต้องการของภาคอุตสาหกรรมในท้องถิ่นและประชาคมอาเซียน
ข้อมูลทั่วไป คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ เป็นคณะที่มีภารกิจตาม พ.ร.บ.มหาวิทยาลัยราชภัฏ เน้นให้การศึกษาที่เกี่ยวข้องกับศาสตร์ด้านอุตสาหกรรม ก่อนวันที่1ตุลาคม พ.ศ.2513 โรงเรียนฝึกหัดครูฉะเชิงเทราขณะนั้นจัดการศึกษาเพื่อการฝึกหัดครูระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา (ป.กศ.) ตั้งแต่ปี พ.ศ.2498 นักเรียนฝึกหัดครูทุกคนต้องเรียนวิชางานช่าง ได้แก่ งานเขียนแบบ งานศิลปการช่าง งานไม้ งานปูน งานไฟฟ้า งานโลหะ อย่างน้อย 3 รายวิชา เพื่อให้มีความรู้ความสามารถนำไปสอนในโรงเรียนประถมศึกษา เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2513 โรงเรียนฝึกหัดครูฉะเชิงเทรา เปลี่ยนสถานภาพเป็นวิทยาลัย ครูฉะเชิงเทรา ให้สามารถจัดการศึกษาระดับที่สูงขึ้น โดยจัดให้วิชางานช่างเป็นวิชาโทเรียกชื่อวิชาโทหัตถศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง (ป.กศ.สูง) และต่อมาเปลี่ยนเป็นวิชาเอกอุตสาหกรรมศิลป์ระดับป.กศ.สูง เพื่อผลิตนักเรียนฝึกหัดครูออกไปสอนวิชางานช่างและอุตสาหกรรมศิลป์ในโรงเรียนประถมศึกษา และมัธยมศึกษาตอนต้น เมื่อมีการประกาศใช้ พ.ร.บ.วิทยาลัยครู พ.ศ.2518 วิทยาลัยครูฉะเชิงเทราสามารถผลิตครูได้ถึงระดับปริญญาตรี จึงจัดให้วิชาอุตสาหกรรมศิลป์เป็นวิชาเอกวิชาหนึ่งในหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต การจัดการศึกษาสายครุศาสตร์ วิชาเอกอุตสาหกรรมศิลป์ ได้กระทำอย่างต่อเนื่องมาจนกระทั่งหมดความจำเป็นในการผลิตนักศึกษาสายครุศาสตร์ จึงหยุดให้การศึกษาด้านนักศึกษาครู การเปลี่ยนบทบาทวิทยาลัยครู ให้สามารถผลิตบุคลากรสาขาอื่นได้ นอกเหนือจากการศึกษาสายครุศาสตร์ตั้งแต่ปี 2527 เป็นต้นมา ภาควิชาหัตถศึกษาและอุตสาหกรรมศิลป์ (ขณะนั้น) จึงเริ่มให้มีการผลิตบุคลากรด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ทั้งภาคปกติและภาคพิเศษในระดับอนุปริญญาและปริญญาตรี ในปีพ.ศ.2538 สำนักงานสภาสถาบันราชภัฏได้ประกาศให้มีโครงการจัดตั้งคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมขึ้น 9 แห่ง สถาบันราชภัฏฉะเชิงเทรา (ชื่อในขณะนั้น) เป็นสถาบันแห่งหนึ่งที่ได้ร่วมโครงการและพัฒนาโครงการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาวิทยาศาสตร์ในโปรแกรมวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม วิชาออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมและวิชาเซรามิกส์ ตลอดทั้งได้จัดหาอัตรากำลังทั้งสายผู้สอนและสายสนับสนุนวุฒิต่างๆ เพื่อเพิ่มศักยภาพให้กับโปรแกรมวิชาด้านการผลิตบัณฑิตให้มีประสิทธิภาพ ในปีพ.ศ.2542 โครงการจัดตั้งคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ได้รับการอนุมัติให้เป็นคณะฯมีการบริหารจัดการและดำเนินงานตามพันธกิจ ผลิตบัณฑิตสาขาวิทยาศาสตร์ด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ได้จัดการเรียนการสอนทั้ง 2 แห่ง คือที่ตั้งเดิมในปัจจุบันมีอาคารสำนักงานและอาคารปฏิบัติการจำนวน 3 หลัง และที่ศูนย์บางคล้ามีอาคารสำนักงาน และอาคารปฏิบัติการจำนวน 4 หลัง เปิดสอนนักศึกษาโปรแกรมวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม โปรแกรมวิชาเทคโนโลยีเซรามิกส์ และโปรแกรมวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ในปีการศึกษา 2549 ได้รับการอนุมัติจากสภาและสกอ.ให้จัดการศึกษาด้านวิศวกรรมศาสตร์สาขาวิศวกรรมการจัดการอุตสาหกรรม เพื่อผลิตวิศวกรด้านการจัดการอุตสาหกรรม
การแบ่งส่วนราชการ
1. สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรม (วท.ม.)โทร. 0-3856-8191 โทรสาร 0-3856-8192
2. สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (ทล.บ.)โทร. 0-3856-8191 โทรสาร 0-3856-8191
3. สาขาวิชาวิศวกรรมการจัดการอุตสาหกรรม (วศ.บ.)โทร. 0-3856-8191 โทรสาร 0-3856-8191
4. สาขาวิชาวิศวกรรมการผลิตอัตโนมัติ (วศ.บ.)โทร. 0-3856-8191 โทรสาร 0-3856-8191
5. สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกลยานยนต์ (วท.บ.)โทร. 0-3856-8191 โทรสาร 0-3856-8191
6. สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า (วท.บ.)โทร. 0-3856-8191 โทรสาร 0-3856-8191
7. สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ (วท.บ.)โทร. 0-3856-8191 โทรสาร 0-3856-8191
8. สำนักงานคณบดีโทร. 0-3856-8191 โทรสาร 0-3856-8191
 
จำนวนบุคลากร 3 ปีที่ผ่านมา

0

0

0
2548 2549 2550
จำนวนบุคลากรปัจจุบัน
อัตราจ้างจำนวนบุคลากรร้อยละ
1 ลูกจ้างชั่วคราว รายเดือน (เงินงบประมาณ)0 .00
2 ลูกจ้างชั่วคราว รายวัน (เงินงบประมาณ)0 .00
3 พนง.มหาวิทยาลัย29 67.40
4 พนง.ราชการ0 .00
5 พนง.มหาวิทยาลัย (เงินรายได้)0 .00
6 ลูกจ้างประจำ0 .00
7 ข้าราชการ12 27.90
8 ลูกจ้างชั่วคราว รายเดือน (เงินรายได้)0 .00
9 ลูกจ้างชั่วคราว รายวัน (เงินรายได้)0 .00
10 ลูกจ้างสถาบันบ่มเพาะวิสาหกิจ0 .00
11 พนง.ในสถาบันอุดมศึกษา (สายวิชาการ)2 4.70
12 พนง.ในสถาบันอุดมศึกษา (สายสนับสนุน)0 .00
รวม 43
ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2550
การเรียนการสอน
จำนวนหลักสูตร 6 หลักสูตร  
จำนวนวิทยานิพนธ์ทั้งหมด 0 เรื่อง  
 

จำนวนวิทยานิพนธ์ปริญญาโท

0 เรื่อง
  จำนวนวิทยานิพนธ์ปริญญาเอก 0 เรื่อง
จำนวนวิทยานิพนธ์ตีพิมพ์ 0 รายการ  
จำนวนนักศึกษาได้รับรางวัลในรอบ 3 ปี ที่ผ่านมา 0 รางวัล จำนวนนักศึกษา 43 คน  
จำนวนสื่อการเรียนการสอน  
  จำนวนวิชา E-learning/โปรแกรมช่วยสอน/Perwerpoint/CD-ROM ?? วิชา
  จำนวนเอกสารประกอบการสอน/เอกสารคำสอน/หนังสือตำรา  
     
การพัฒนาบุคลากร
มีการพัฒนาบุคลากรทั้งหมด (ปีงบประมาณ) 30 ครั้ง    
 

ฝึกอบรม/เชิงปฏิบัติการ

7 ครั้ง
 

สัมมนา/เชิงปฏิบัติการ

4 ครั้ง
  ประชุมวิชาการ 9 ครั้ง
 

ฟังบรรยาย

0 ครั้ง
 

ศึกษาดูงาน

0 ครั้ง  
 

เสวนา

0 ครั้ง  
จำนวนบุคลากรที่ได้ัรับการพัฒนา(ปีงบประมาณ) 0 คน จากจำนวน บุคลากร 0 คน  
  สายอาจารย์ 0 คน จากจำนวน อาจารย์ 0 คน  
  สายสนับสนุน 0 คน จากจำนวน บุคลากร 0 คน  
จำนวนบุคลากรได้รับรางวัล ?? เรื่อง
การให้บริการวิชาการ
จำนวนครั้งในการให้บริการวิชาการ (ปีงบประมาณ)   30 ครั้ง
  การเป็นกรรมการ/ที่ปรึกษาวิชาการ 2 ครั้ง
  การเป็นกรรมการ/ที่ปรึกษาวิชาชีพ 0 ครั้ง
  การเป็นกรรมการ/ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ 0 ครั้ง
  การเป็นวิทยากร 3 ครั้ง
  การจัดฝึกอบรม 4 ครั้ง
  การให้คำปรึกษาทางวิชาการ 1 ครั้ง
  การค้นคว้า สำรวจและวิเคราะห์ 0 ครั้ง
  การทดสอบ ตรวจสอบ 0 ครั้ง
  การวางระบบและออกแบบ 0 ครั้ง
  การผลิต ประดิษฐ์ 0 ครั้ง
 

อื่นๆ

0 ครั้ง
จำนวน อาจารย์ที่เป็นกรรมการภายนอก (ปีงบประมาณ)
งานวิจัย
จำนวนเงินของงานวิจัย (ปีงบประมาณ)   บาท
  จำนวนเงินวิจัยภายนอก บาท
  จำนวนเงินวิจัยภายใน บาท
จำนวนงานวิจัย (ปีงบประมาณ) 0 เรื่อง
  จำนวนการนำเสนอผลงานวิจัย 0 ครั้ง
  จำนวนบทความที่ตีพิมพ์และบทความวิชาการ 0 ครั้ง
  จำนวนงานที่ได้รับอ้างอิง 0 ครั้ง
จำนวน อาจารย์ ที่ทำงานวิจัย 0 คน จากจำนวน อาจารย์ 0 คน
     
ิกิจกรรม
จำนวนกิจกรรมทั้งปี (ปีปฏิทิน)   12 กิจกรรม
  จำนวนกิจกรรมทำนุบำรุงศิลปฯ 1 กิจกรรม
  จำนวนกิจกรรมบริการสังคมฯ 4 กิจกรรม
  จำนวนกิจกรรมพัฒนานักศึกษา 0 กิจกรรม
  จำนวนกิจกรรมประกันคุณภาพ 0 กิจกรรม
  จำนวนกิจกรรมบริหารจัดการ 1 กิจกรรม
  อื่นๆ